HOW MUCH YOU NEED TO EXPECT YOU'LL PAY FOR A GOOD สังคมผู้สูงอายุ

How Much You Need To Expect You'll Pay For A Good สังคมผู้สูงอายุ

How Much You Need To Expect You'll Pay For A Good สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

แม้ที่ผ่านมาภาครัฐได้ขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุหลายระดับ เช่น การจัดทำแผนระดับชาติ กลไกบูรณาการงานผู้สูงอายุ การออกมาตรการรองรับสังคมสูงวัยทั้งมิติเศรษฐกิจ สุขภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม แต่การเดินหน้าพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยยึดผู้สูงอายุเป็นตัวตั้ง ยังต้องพบกับความท้าทายหลายประการ ดังต่อไปนี้

รายงานวิจัยฉบับนี้จัดทำเพื่อเผยแพร่ทั่วไป โดยจัดทำขึ้นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ แต่บริษัทฯ มิอาจรับรองความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ หรือความสมบูรณ์เพื่อใช้ในทางการค้าหรือประโยชน์อื่นใด บริษัทฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ตลอดโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ผู้ใช้ข้อมูลต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้ข้อมูลต่างๆ ด้วยวิจารณญาณตนเองและรับผิดชอบในความเสี่ยงเองทั้งสิ้น บริษัทฯ จะไม่รับผิดต่อผู้ใช้หรือบุคคลใดในความเสียหายใดจากการใช้ข้อมูลดังกล่าว ข้อมูลในรายงานฉบับนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการให้ความเห็น หรือคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจ แต่อย่างใดทั้งสิ้น

กองส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ

การเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ คงไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของคนทุกช่วงวัยที่ต้องเตรียมความพร้อม ต้องตระหนักและสร้างหลักประกันให้กับตนเองทั้งด้านสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง การเงินที่มั่นคง การดำรงชึวิตอย่างมีศักดิ์ศรี เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณค่าและคุณภาพ

แหล่งที่มาของงบประมาณเพื่อการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดียามชราภาพยังมีความไม่ชัดเจน โดยการหาแหล่งที่มาของเงินคงเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องใช้ทั้งภาษีอากร (เน้นผู้สูงอายุในปัจจุบัน) และใช้การมีส่วนร่วมจ่ายของประชาชน (เน้นประชากรวัยทำงานในปัจจุบันที่ยังมีเวลาสร้างอนาคต) ข้อเสนอส่วนใหญ่ในปัจจุบันให้น้ำหนักไปที่ “การให้มีบำนาญเพื่อผู้สูงอายุในปัจจุบันโดยรัฐจัดสรร” แต่ไม่ควรลืมว่า สังคมไทยยังมีผู้สูงอายุในอนาคตอีกด้วย สังคมไทยต้องแสวงหาทางออกเพื่อ “ก้าวข้ามความขัดแย้งระหว่างรุ่น” โดยการประนีประนอมเชิงนโยบายระหว่างการสร้างหลักประกันยามชราภาพเพื่อให้ผู้สูงอายุในปัจจุบันที่เน้นวิธีการแบบรัฐจัดสรรกับการผลักดันให้เกิดระบบบำนาญฯ แบบมีส่วนร่วมเพื่อเป็นหลักประกันที่มั่นคงให้กับผู้สูงอายุในอนาคต

ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงของกรมกิจการผู้สูงอายุ

จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้

ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ

ดร.นพพล ชี้ประเด็นสำคัญก่อนจะเผยเงื่อนไขสำคัญหากจำเป็นต้องชูนโยบายกระตุ้นการมีบุตร

น่าน ดูทั้งหมด ถัดไป จุฬาฯ จ้างงานชุมชนสู้พิษเศรษฐกิจ ปลุกสำนึกรักท้องถิ่น สร้างอาชีพและโอกาสวิสาหกิจชุมชน

ตลาดผู้สูงวัยถือเป็นตลาดที่ท้าทาย เพราะเป็นกลุ่มที่มีกำลังซื้อสูง มีความพร้อมในการใช้จ่าย แต่ผู้ทำธุรกิจจำเป็นต้องเข้าใจนิสัยและความต้องการที่หลากหลายและพร้อมจะปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลาของคนกลุ่มนี้ให้ได้ โดยภาคธุรกิจไทยมีศักยภาพในการก้าวขึ้นมาเป็นแนวหน้าเรื่องสุขภาพ เพียงแต่ต้องทำความเข้าใจการย่างก้าวทางธุรกิจให้สอดคล้องกับช่วงวัยของผู้บริโภค

ทั้งนี้ สังคมผู้สูงอายุ ความต้องการของประชากรสูงอายุ ได้แก่ ความมั่นคงทางการเงินและความปลอดภัยส่วนบุคคล สุขภาพจิตที่ดี ระบบการรักษาพยาบาลที่แข็งแกร่งและการตระหนักรู้ในตนเอง ถึงแม้ความต้องการเหล่านี้จะเป็นความต้องการพื้นฐาน แต่ก็ถือเป็นเรื่องจำเป็นที่ลูกค้ากลุ่มนี้ควรได้รับคำแนะนำและการนำเสนอโซลูชันที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งการตอบสนองและการคาดการณ์พฤติกรรมและรูปแบบการใช้จ่ายที่เปลี่ยนไปของผู้สูงอายุ บ่งชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนจากโซลูชันแบบดั้งเดิมเป็นโซลูชันแบบใหม่ที่เน้นนวัตกรรมที่ล้ำสมัยอีกด้วย  

สำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้กำหนดนโยบายและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำงานร่วมกันในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเพื่อปฏิรูปนโยบาย และแนวคิดเพื่อรับมือกับความท้าทายที่ต้องเผชิญ พร้อมกับพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีของผู้สูงอายุ

นางสาวกนกวรรณกล่าวว่า เดิมการดูแลผู้สูงวัยของไทยแยกออกเป็นกลุ่มเปราะบางกับกลุ่มที่ใช้สิทธิ แต่ปัจจุบันปรับมาเป็นการดูแลแบบเท่าเทียม ยกเว้นผู้ที่ผ่านการคัดกรองว่าเป็นผู้เปราะบาง

Report this page